Browsed by
Category: สถานที่ท่องเที่ยวบริเวณบึงแก่นนคร ขอนแก่น

ศาลเจ้าพ่อมเหศักดิ์ บริเวณริมบึงแก่นนคร จังหวัดขอนแก่น

ศาลเจ้าพ่อมเหศักดิ์ บริเวณริมบึงแก่นนคร จังหวัดขอนแก่น

ท้าวเพียเมืองแพน ได้สร้างศาลเจ้าพ่อมเหศักดิ์ขึ้น ตั้งเป็นเสาบือบ้าน ศูนย์กลางของบ้านเมือง ตามความเชื่อของชาวอีสานในฮีตสิบสองคองสิบสี่ที่กล่าวถึง “สมบัติคูนเมือง” ซึ่งเป็นคองของเจ้าเมืองไว้ 14 ข้อ ใน 14 ข้อ มีใจบ้านหรือศูนย์กลางบ้านเมือง

Continue Reading
แหล่งท่องเที่ยวสถานที่ศักดิ์สิทธิ์รอบบึงแก่นนคร จ.ขอนแก่น: ประวัติศาสตร์การหาอยู่หากิน ปรัชญาชีวิต และพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ศูนย์รวมจิตใจ

แหล่งท่องเที่ยวสถานที่ศักดิ์สิทธิ์รอบบึงแก่นนคร จ.ขอนแก่น: ประวัติศาสตร์การหาอยู่หากิน ปรัชญาชีวิต และพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ศูนย์รวมจิตใจ

An English version is down below. (ภาษาอังกฤษด้านล่าง)

บทความนี้ได้ทำการเรียงสถานที่ต่างๆ ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา หรือ ถ้าท่องเที่ยววัดหนองแวง พระอารามหลวง ก็จะสามารถขี่จักรยานหรือเดินบริเวณริมบึงแก่นนคร

Continue Reading
ศาลเจ้าแม่สองนาง บริเวณริมบึงแก่นนคร จ.ขอนแก่น

ศาลเจ้าแม่สองนาง บริเวณริมบึงแก่นนคร จ.ขอนแก่น

ประวัติเจ้าแม่สองนาง บริเวณริมบึงแก่นนคร จ.ขอนแก่น

(ข้อมูลจากป้ายที่จัดแสดงไว้ในศาลเจ้าแม่สองนาง ริมบึงแก่นนคร ขอนแก่น)

เจ้าแม่สองนาง เป็นพระราชธิดาของพระเจ้าชัยเชษฐาธิราช กษัตริย์แห่งล้านช้าง (ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบัน) ทั้งสองพระนางประสูติในราว พ.ศ.2104-2105 ตรงกับ

Continue Reading
ประวัติวัดกลางและพระมหาธาตุราชมัชฌิมาเฉลิมพระเกียรติ (ริมบึงแก่นนคร) ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

ประวัติวัดกลางและพระมหาธาตุราชมัชฌิมาเฉลิมพระเกียรติ (ริมบึงแก่นนคร) ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

ประวัติวัดกลาง (โดยสังเขป)
ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

วัดกลาง รหัสวัด ๐๔๔๐๐๑๐๑๐๐๒

ตั้งอยู่ที่บ้าน เมืองเก่า เลขที่ ๓๔๗ หมู่ที่

Continue Reading
พุทธประวัติ(ตอนที่ 1): ภาพแกะสลักบานประตูชั้นที่ 6 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ขอนแก่น

พุทธประวัติ(ตอนที่ 1): ภาพแกะสลักบานประตูชั้นที่ 6 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ขอนแก่น

งานแกะสลักบานประตูของชั้น 6 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ได้มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับพุทธประวัติของพระพุทธเจ้าอยู่หลายตอนด้วยกัน โดยมีช่างฝีมือแกะสลักคือ ช่างถาวร ก่อนแก้ว และชาวภาคเหนือ..

สามารถติดตามภาษาอังกฤษได้ใน English Version

วิธีอ่าน Continue Reading