Browsed by
Category: ฮูปแต้ม อีสาน

ภาพวาดพระพุทธรูปประจำวันเกิด เทพนพเคราะห์ เทพประจำทิศ และสัตว์ประจำทิศ ณ ชั้น 4 พระมหาธาตุแก่นนคร ขอนแก่น

ภาพวาดพระพุทธรูปประจำวันเกิด เทพนพเคราะห์ เทพประจำทิศ และสัตว์ประจำทิศ ณ ชั้น 4 พระมหาธาตุแก่นนคร ขอนแก่น

สำหรับภาพวาดบนบานประตูและหน้าต่างของชั้น 4 พระมหาธาตุแก่นนครขอนแก่น ณ วัดหนองแวงพระอารามหลวง มีความเกี่ยวข้องกับเทวดานพเคราะห์ พระประจำวันเกิด เทพประจำทิศ และสัตว์ประจำทิศ(ตัวผึ้งตัวเสวย) ตามหลักของโหราศาสตร์โบราณ โดยวันพุธจะแยกเป็นกลางวันและกลางคืน ทำให้เกิดเป็น 8 … Continue Reading

รายละเอียดทั้ง 9 ชั้นของพระมหาธาตุแก่นนคร อนุสรณ์สาธุชน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

รายละเอียดทั้ง 9 ชั้นของพระมหาธาตุแก่นนคร อนุสรณ์สาธุชน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

เรื่องและภาพ โดย สุทธวรรณ บีเวอ

บทความภาคภาษาอังกฤษ โดย  Tim Bewer

ภาพวาดแผนผังพระมหาธาตุแก่นนคร  จาก แหล่งท่องเที่ยวสถานที่ศักดิ์สิทธิ์รอบบึงแก่นนคร จ.ขอนแก่น: ประวัติศาสตร์การหาอยู่หากิน Continue Reading

ชีวประวัติของพระธรรมวิสุทธาจารย์ เจ้าอาวาสวัดหนองแวงพระอารามหลวง ณ จิตรกรรมฝาผนัง ชั้น 4 พระมหาธาตุแก่นนคร:

ชีวประวัติของพระธรรมวิสุทธาจารย์ เจ้าอาวาสวัดหนองแวงพระอารามหลวง ณ จิตรกรรมฝาผนัง ชั้น 4 พระมหาธาตุแก่นนคร:

(ภาพบน หุ่นขี้ผึ้งของพระธรรมวิสุทธาจารย์ ในพระมหาธาตุแก่นนคร ชั้น 1)

ชีวประวัติของพระธรรมวิสุทธาจารย์(หลวงพ่อคูณ ขันติโก) เจ้าอาวาสวัดหนองแวงพระอารามหลวง  ผู้ก่อตั้งการสร้างพระมหาธาตุแก่นนคร ได้จัดแสดงผ่านภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ชั้น 4 ของพระมหาธาตุแก่นนคร โดยมี

Continue Reading
“ฮีตสิบสองคองสิบสี่” ในจิตรกรรมชั้น 1 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ขอนแก่น

“ฮีตสิบสองคองสิบสี่” ในจิตรกรรมชั้น 1 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ขอนแก่น

ฮีต คือ “รีต” ในภาษาไทย (อีสานและลาวออกเสียง ร. เป็น ฮ.) หมายถึงประเพณีที่ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่โบราณ คอง คำศัพท์เดิมหมายถึง รอยที่เป็นทางยาว เช่น

Continue Reading
จิตรกรรมฝาผนังชั้น 1 วัดหนองแวงพระอารามหลวง: ประวัติการสร้างเมืองขอนแก่น ศาสนสถานโบราณ และวิถีวัฒนธรรม

จิตรกรรมฝาผนังชั้น 1 วัดหนองแวงพระอารามหลวง: ประวัติการสร้างเมืองขอนแก่น ศาสนสถานโบราณ และวิถีวัฒนธรรม

จากจินตนาการเรื่องราวในอดีตของเมืองขอนแก่น ผสานเข้ากับสภาพภูมิประเทศ วิถีชีวิตของผู้คน ขนบธรรมเนียมและประเพณี ภูมิความรู้ในการหาอยู่หากินการดำรงชีพแบบดั้งเดิมของชาวอีสานโดยละเอียด ได้ถูกถ่ายทอดเพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าใจในบริบทของสังคมในยุคต่างๆ ได้ง่าย ทำให้ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ชั้น 1 อันทรงคุณค่าทั้งหมดกว่า 52 ภาพ (รวมภาพ

Continue Reading
ศิลปะโดยรอบศาลาโพธิสาร 72 วัดโพธิ์บ้านโนนทัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

ศิลปะโดยรอบศาลาโพธิสาร 72 วัดโพธิ์บ้านโนนทัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

คณะผู้จัดทำได้รับความเมตตาจาก หลวงตาเกรียง หรือ พระมหาเกรียงศักดิ์ โสภากุล ดร. (ธรรมวิจาโร) ผู้เสียสละเวลาเป็นอย่างสูงในการอธิบายความหมายที่แฝงอยู่ในงานศิลปะและพระธรรมที่ซ่อนอยู่ในภาพเหล่านี้ และได้รับความเมตตาจาก หลวงตาปริศนา ผู้มอบหนังสือ “ไขปริศนาธรรม ภาพศาลาโพธิสาร … Continue Reading

ภาพสัตว์ในสิมอีสาน วัดยางทวงวราราม(วัดบ้านยาง) มหาสารคาม

ภาพสัตว์ในสิมอีสาน วัดยางทวงวราราม(วัดบ้านยาง) มหาสารคาม

วัดยางทวงวราราม หรือ วัดบ้านยาง อ.บรบือ มหาสารคาม ผู้เขียนสนใจนำเสนอในส่วนของภาพวาด “สัตว์ในสิม” ซึ่งน่าสนใจมาก ถือว่าเป็นวัดหนึ่งที่มีสิมมีภาพสัตว์ป่าในธรรมชาติรอบตัวในขณะนั้นของหมู่บ้านได้อย่างละเอียดกระทั่งสายพันธุ์สัตว์ ทั้ง เก้ง กวาง เสือ … Continue Reading