Browsed by
Category: ธรรมเนียม อีสาน

ผ้าพระเวส (ผ้าผะเหวด) ของนายหนูบุญเรือง พ.ศ.2506 อุบลราชธานี

ผ้าพระเวส (ผ้าผะเหวด) ของนายหนูบุญเรือง พ.ศ.2506 อุบลราชธานี

เรื่องโดย สุทธวรรณ บีเวอ

ภาพโดย ทิม บีเวอ

แอดมินได้พยายามแปลอักษรโบราณเรื่องของพระเวสสันดร จากผ้าพระเวส หรือ ผ้าผะเหวด ที่ช่างนายหนูบุญเรือง วาดไว้ในปี พ.ศ.2506 … Continue Reading

ผญาอีสาน: สุภาษิตอีสานในภาพจิตรกรรมชั้น 5 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ขอนแก่น

ผญาอีสาน: สุภาษิตอีสานในภาพจิตรกรรมชั้น 5 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ขอนแก่น

ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ชั้น 5 ของพระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง จังหวัดขอนแก่น ได้บรรจุเรื่องราวของผญาหรือสุภาษิตอีสาน ซึ่งมีทั้งเกี่ยวข้องกับการอยู่อย่างไรให้มีความสุข ความสำเร็จ วิถีชีวิต และธรรมะ เป็นต้น โดยมีผู้วาดคือ อาจารย์ธรรมรงค์ … Continue Reading

รายละเอียดทั้ง 9 ชั้นของพระมหาธาตุแก่นนคร อนุสรณ์สาธุชน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

รายละเอียดทั้ง 9 ชั้นของพระมหาธาตุแก่นนคร อนุสรณ์สาธุชน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

เรื่องและภาพ โดย สุทธวรรณ บีเวอ

บทความภาคภาษาอังกฤษ โดย  Tim Bewer

ภาพวาดแผนผังพระมหาธาตุแก่นนคร  จาก แหล่งท่องเที่ยวสถานที่ศักดิ์สิทธิ์รอบบึงแก่นนคร จ.ขอนแก่น: ประวัติศาสตร์การหาอยู่หากิน Continue Reading

บุญผะเหวด: พิธีกรรมแบบอีสานและมงคลแห่ง “น้ำ” ในที่ราบสูงโคราช ณ วัดบ้านลาน ขอนแก่น

บุญผะเหวด: พิธีกรรมแบบอีสานและมงคลแห่ง “น้ำ” ในที่ราบสูงโคราช ณ วัดบ้านลาน ขอนแก่น

จากภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ทรงคุณค่าของวัดบ้านลาน จังหวัดขอนแก่น ซึ่งมีเรื่องราวของพระเวสสันดรชาดก พระชาติสุดท้ายที่บำเพ็ญบารมี ก่อนประสูติเป็นพระโคตมพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อยู่โดยรอบสิมหรืออุโบสถเก่าแบบอีสานพื้นบ้านโบราณ โดยเฉพาะผนังด้านทิศใต้ที่เน้นวาดภาพแห่ “ผะเหวด” หรือ “พระเวสสันดร” กลับเข้าเมือง และตอนดังกล่าวนี้เองที่สะท้อนให้เห็นความสำคัญของงานบุญผะเหวดหรือบุญพระเวสสันดรที่มีต่อชีวิตชาวอีสานใน “พื้นที่ราบสูงโคราช” … Continue Reading

“ฮีตสิบสองคองสิบสี่” ในจิตรกรรมชั้น 1 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ขอนแก่น

“ฮีตสิบสองคองสิบสี่” ในจิตรกรรมชั้น 1 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ขอนแก่น

ฮีต คือ “รีต” ในภาษาไทย (อีสานและลาวออกเสียง ร. เป็น ฮ.) หมายถึงประเพณีที่ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่โบราณ คอง คำศัพท์เดิมหมายถึง รอยที่เป็นทางยาว เช่น

Continue Reading
ศิลปะโดยรอบศาลาโพธิสาร 72 วัดโพธิ์บ้านโนนทัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

ศิลปะโดยรอบศาลาโพธิสาร 72 วัดโพธิ์บ้านโนนทัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

คณะผู้จัดทำได้รับความเมตตาจาก หลวงตาเกรียง หรือ พระมหาเกรียงศักดิ์ โสภากุล ดร. (ธรรมวิจาโร) ผู้เสียสละเวลาเป็นอย่างสูงในการอธิบายความหมายที่แฝงอยู่ในงานศิลปะและพระธรรมที่ซ่อนอยู่ในภาพเหล่านี้ และได้รับความเมตตาจาก หลวงตาปริศนา ผู้มอบหนังสือ “ไขปริศนาธรรม ภาพศาลาโพธิสาร … Continue Reading