Browsed by
Category: ศาสนาและความเชื่อ

วัดโพธิ์บ้านโนนทัน เมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น (Wat Pho Ban Nontan, Muang Khon Kaen): ประวัติศาสตร์และการท่องเที่ยวริมบึงแก่นนคร เมืองขอนแก่น

วัดโพธิ์บ้านโนนทัน เมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น (Wat Pho Ban Nontan, Muang Khon Kaen): ประวัติศาสตร์และการท่องเที่ยวริมบึงแก่นนคร เมืองขอนแก่น

เรียบเรียงข้อมูลและภาพโดย สุทธวรรณ บีเวอ

วัดโพธิ์บ้านโนนทัน เดิมชื่อ วัดท่าแขก ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออกของ บึงบอน หรือ บึงแก่นนคร ในปัจจุบัน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่

Continue Reading
เสมาหิน ณ พระธาตุยาคู อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

เสมาหิน ณ พระธาตุยาคู อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

พระธาตุยาคู

(ข้อมูลตามป้ายที่ปรากฏในสถานที่)

พระธาตุยาคูเดิมเรียกว่า ธาตุใหญ่ เป็นสถูปเจดีย์ ในสมัยทวารวดี (ราวพุทธศตวรรษที่ 13-15) มีขนาดใหญ่และสมบูรณ์ที่สุดในบรรดาโบราณสถานในเมืองฟ้าแดดสงยาง ยังคงปรากฏร่องรอยของฐานที่สร้างในสมัยแรก เป็นรูปฐานสี่เหลี่ยม เดิมมีลวดลายปูนปั้นประดับ ปัจจุบันหลุดออกหมดและได้นำไปจัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ

Continue Reading
พุทธประวัติ(ตอนที่ 1): ภาพแกะสลักบานประตูชั้นที่ 6 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ขอนแก่น

พุทธประวัติ(ตอนที่ 1): ภาพแกะสลักบานประตูชั้นที่ 6 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ขอนแก่น

งานแกะสลักบานประตูของชั้น 6 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง ได้มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับพุทธประวัติของพระพุทธเจ้าอยู่หลายตอนด้วยกัน โดยมีช่างฝีมือแกะสลักคือ ช่างถาวร ก่อนแก้ว และชาวภาคเหนือ..

สามารถติดตามภาษาอังกฤษได้ใน English Version

วิธีอ่าน Continue Reading

พระเวสสันดรและทศชาติชาดก: ภาพแกะสลักไม้ ชั้น 7 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง

พระเวสสันดรและทศชาติชาดก: ภาพแกะสลักไม้ ชั้น 7 พระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง

จากภาพแกะสลักที่บานประตูและหน้าต่างที่ชั้น 7 ของพระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง จังหวัดขอนแก่น ได้บอกเล่าเกี่ยวกับ 10 พระชาติสุดท้ายของพระพุทธเจ้า โดยมีช่างผู้รับเหมาหลักคือ นายช่างถาวร ก่อนแก้ว กับชาวภาคเหนือ 

*หมายเหตุ
Continue Reading
ศิลปะโดยรอบศาลาโพธิสาร 72 วัดโพธิ์บ้านโนนทัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

ศิลปะโดยรอบศาลาโพธิสาร 72 วัดโพธิ์บ้านโนนทัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

คณะผู้จัดทำได้รับความเมตตาจาก หลวงตาเกรียง หรือ พระมหาเกรียงศักดิ์ โสภากุล ดร. (ธรรมวิจาโร) ผู้เสียสละเวลาเป็นอย่างสูงในการอธิบายความหมายที่แฝงอยู่ในงานศิลปะและพระธรรมที่ซ่อนอยู่ในภาพเหล่านี้ และได้รับความเมตตาจาก หลวงตาปริศนา ผู้มอบหนังสือ “ไขปริศนาธรรม ภาพศาลาโพธิสาร … Continue Reading